วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2554

วันแม่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ดอกมะลิ สัญลักษณ์หนึ่งของวันแม่ในประเทศไทย
วันแม่ เป็นวันที่สำคัญในหลายประเทศทั่วโลกจัดขึ้นเพื่อให้เกียรติแม่และความเป็นแม่ ในประเทศไทยวันแม่แห่งชาติ ตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปี ในประเทศอื่นทั่วโลกวันแม่จะอยู่ในช่วง เดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ส่วนในอังกฤษและไอร์แลนด์วันแม่ถูกจัดขึ้นต่อจากวันอาทิตย์แห่งความเป็นแม่ซึ่งเป็นวันสำคัญของศาสนาคริสต์
วันสำคัญที่ให้ระลึกถึงความเป็นพ่อถูกเรียกว่าวันพ่อ

เนื้อหา

[ซ่อน]

[แก้] ประวัติ

ในวานเปตรยุคโรมันโบราณมีวันหยุดที่คล้ายกันคือ มาโตรนาเลีย ซึ่งเป็นวันที่ระลึกถึงเทพีจูโน เทพีผู้พิทักษ์ ส่วนในยุโรปมีประวัติเกี่ยวกับวันแม่ที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น วันอาทิตย์แห่งความเป็นแม่ (Mothering Sunday) ซึ่งเป็นวันสำคัญของศาสนาคริสต์ ในสหรัฐอเมริกาได้มีการผลักดันให้มีการฉลองวันแม่ภายหลังสงครามกลางเมืองอเมริกัน โดย จูเลีย วอร์ด ฮาว โดยมีความเชื่อว่าเพศหญิงเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยสร้างสังคม วันผู้หญิงนานาชาติได้มีการเฉลิมฉลองครั้งแรกเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 ในสหรัฐอเมริกา[1] ซึ่งในเวลาใกล้เคียงกัน แอนนา ยาร์วิสได้เริ่มผลักดันให้มีการเฉลิมฉลองวันแม่ในสหรัฐอเมริกา

[แก้] วันแม่ในประเทศต่าง ๆ

ประเทศอื่น ๆ ก็มีการกำหนดวันแม่ไว้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ใช้วันอาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม ประเทศรัสเซียใช้วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นต้น ทั้งนี้บางประเทศมีการเฉลิมฉลองในวันสตรีสากล

[แก้] ประเทศญี่ปุ่น

ในญี่ปุ่น ปี 1931 (หรือปีโชวะที่ 6) องค์กร สตรีสูงสุดของญี่ปุ่นได้ตั้ง วันที่ 06 มีนาคม ซึ่งเป็นวันฉลองพระราชสมภพ ของ พระราชินี คาโอรุ มาโคโตะ (Empress Kaoru Makoto) เป็น "วันแม่" ต่อมาในปี 1937 วันที่ 5 พฤษภาคม (หรือปีโชวะที่12 ) และได้เปลี่ยนแปลงอีกครั้งเมื่อ (ได้รับการสนับสนุนโดยคณะกรรมการกลางให้จัดตั้งวันแม่) ขึ้นใหม่ในปี 1949 (หรือปีโชวะที่24 ) โดยมาจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่สองในเดือนพฤษภาคม ตามประเทศสหรัฐอเมริกาและอีกหลายๆประเทศ
ทั้งนี้ วันเด็ก 5 พฤษภาคม เป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ (วันหยุดแห่งชาติตามกฎหมาย) "เพื่อให้เด็กได้มีความสุขกับครอบครัวและ ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อขอบคุณแม่ที่ทำให้เราได้เกิดมาอีกด้วย
ในวันแม่ ปกติประเทศญี่ปุ่นจะให้ดอกคาร์เนชั่นแต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ ไม่เพียงดอกคาร์เนชั่นเท่านั้น แต่ดอกกุหลาบสีชมพูและดอกเยอบิร่า ก็ให้ได้เช่นกัน

[แก้] ประเทศไทย

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 ในคณะรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม[2] ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 ได้เปลี่ยนมาเป็นวันที่ 12 สิงหาคม ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พร้อมกับได้กำหนดให้ดอกมะลิเป็นดอกไม้สัญลักษณ์แทนวันแม่ เนื่องจากเป็นดอกไม้ที่มีสีขาว มีกลิ่นหอมและออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูก[3]

[แก้] วันแม่นานาชาติ



ปฏิทินเกรโกเรียน
ทุกวันที่วันที่ประเทศ
2 กุมภาพันธ์ธงชาติของกรีซ กรีซ
วันอาทิตย์ที่สองของเดือนกุมภาพันธ์8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ธงชาติของนอร์เวย์ นอร์เวย์
Shevat 30
(อาจมีขึ้นในวันที่ 30 มกราคม และ 1 มีนาคม)
ธงชาติของอิสราเอล อิสราเอล
3 มีนาคมธงชาติของประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย
8 มีนาคมธงชาติของอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน
ธงชาติของแอลเบเนียแอลเบเนีย
ธงชาติของอาร์เมเนีย อาร์เมเนีย
ธงชาติของอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน
ธงชาติของเบลารุส เบลารุส
ธงชาติของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ธงชาติของบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติของคาซัคสถาน คาซัคสถาน
ธงชาติของลาว ลาว
Flag of the Republic of Macedonia มาซิโดเนีย
ธงชาติของมอลโดวา มอลโดวา
ธงชาติของมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร
ธงชาติของโรมาเนีย โรมาเนีย
ธงชาติของรัสเซีย รัสเซีย†*
ธงชาติของเซอร์เบีย เซอร์เบีย
ธงชาติของยูเครน ยูเครน
วันอาทิตย์ที่สี่ในฤดูถือบวชเล็นท์22 มีนาคม พ.ศ. 2552
14 มีนาคม พ.ศ. 2553
Flag of Ireland ไอร์แลนด์
ธงชาติของไนจีเรีย ไนจีเรีย
Flag of the United Kingdom สหราชอาณาจักร
21 มีนาคม
(ฤดูใบไม้ผลิ วิษุวัต)
ธงชาติของบาห์เรน บาห์เรน
ธงชาติของอียิปต์ อียิปต์
ธงชาติของจอร์แดน จอร์แดน
ธงชาติของคูเวต คูเวต
ธงชาติของลิเบีย ลิเบีย
ธงชาติของเลบานอน เลบานอน
ธงชาติของโอมาน โอมาน
Palestinian flag ปาเลสไตน์
ธงชาติของซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
ธงชาติของซูดาน ซูดาน
ธงชาติของโซมาเลีย โซมาเลีย
ธงชาติของซีเรีย ซีเรีย
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ธงชาติของเยเมน เยเมน (ประเทศFlag of the League of Arab States อาหรับทั้งหมด โดยปกติ)
25 มีนาคมธงชาติของสโลวีเนีย สโลวีเนีย
7 เมษายนธงชาติของอาร์เมเนีย อาร์เมเนีย
24 เมษายน +/- 5 วัน Baisakh Amavasya (Mata Tirtha Aunsi)ธงชาติของเนปาล เนปาล
วันอาทิตย์แรกของเดือนพฤษภาคม3 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
ธงชาติของฮังการี ฮังการี
ธงชาติของลิทัวเนีย ลิทัวเนีย
ธงชาติของโมซัมบิก โมซัมบิก
ธงชาติของโปรตุเกส โปรตุเกส
ธงชาติของมาเก๊า มาเก๊า
ธงชาติของสเปน สเปน
8 พฤษภาคมธงชาติของแอลเบเนีย แอลเบเนีย (วันครอบครัว)
ธงชาติของเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (วันครอบครัว)
10 พฤษภาคมธงชาติของเอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์
ธงชาติของกัวเตมาลา กัวเตมาลา
ธงชาติของเม็กซิโก เม็กซิโก
วันอาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
9 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
8 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ธงชาติของแองกวิลลา แองกวิลลา
ธงชาติของอารูบา อารูบา
ธงชาติของออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติของออสเตรีย ออสเตรีย
Flag of the Bahamas Bahamas
ธงชาติของบังกลาเทศ บังกลาเทศ
ธงชาติของบาร์เบโดส Barbados
ธงชาติของเบลเยียม เบลเยียม
ธงชาติของเบลีซ Belize
ธงชาติของเบอร์มิวดา เบอร์มิวดา
ธงชาติของโบแนร์ Bonaire
ธงชาติของบราซิล บราซิล
ธงชาติของบรูไน บรูไน
ธงชาติของบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติของแคนาดา แคนาดา
ธงชาติของชิลี ชิลี
Flag of the People's Republic of China สาธารณรัฐประชาชนจีน[4]
Flag of the Republic of China สาธารณรัฐจีน
ธงชาติของโคลอมเบีย Colombia
ธงชาติของโครเอเชีย โครเอเชีย
ธงชาติของคิวบา คิวบา[5]
ธงชาติของคูราเซา Curaçao
ธงชาติของไซปรัส ไซปรัส
Flag of the Czech Republic สาธารณรัฐเช็ก
ธงชาติของเดนมาร์ก เดนมาร์ก
ธงชาติของโดมินิกา Dominica
ธงชาติของเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ธงชาติของเอสโตเนีย เอสโตเนีย
ธงชาติของเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย
ธงชาติของฟิจิ Fiji
ธงชาติของฟินแลนด์ ฟินแลนด์
ธงชาติของเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติของกานา กานา
ธงชาติของกรีซ กรีซ
ธงชาติของเกรเนดา เกรเนดา
ธงชาติของฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
ธงชาติของฮ่องกง ฮ่องกง
ธงชาติของไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์
ธงชาติของอิตาลี อิตาลี
ธงชาติของจาเมกา Jamaica
ธงชาติของญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติของลัตเวีย ลัตเวีย*
ธงชาติของลิกเตนสไตน์ ลิกเตนสไตน์*
ธงชาติของมาเลเซีย มาเลเซีย
ธงชาติของมอลตา มอลตา
ธงชาติของสหภาพพม่า พม่า
Flag of the Netherlands เนเธอร์แลนด์
ธงชาติของนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ธงชาติของปากีสถาน ปากีสถาน
ธงชาติของปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี
ธงชาติของเปรู เปรู[6]
Flag of the Philippines ฟิลิปปินส์
ธงชาติของเปอร์โตริโก Puerto Rico
ธงชาติของเซนต์คิตส์และเนวิส St. Kitts & Nevis
ธงชาติของเซนต์ลูเซีย St. Lucia
ธงชาติของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ Saint Vincent and the Grenadines
ธงชาติของซามัว ซามัว
ธงชาติของสิงคโปร์ สิงคโปร์
ธงชาติของซินท์มาร์เทิน Sint Maarten
ธงชาติของสโลวาเกีย สโลวาเกีย
ธงชาติของแอฟริกาใต้ South Africa
ธงชาติของศรีลังกา ศรีลังกา
ธงชาติของซูรินาเม ซูรินาเม
ธงชาติของสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
ธงชาติของตองกา Tonga
ธงชาติของตรินิแดดและโตเบโก Trinidad and Tobago
ธงชาติของตุรกี ตุรกี
ธงชาติของยูกันดา Uganda
ธงชาติของยูเครน Ukraine
Flag of the United States สหรัฐอเมริกา
ธงชาติของอุรุกวัย อุรุกวัย
ธงชาติของเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
ธงชาติของแซมเบีย Zambia
ธงชาติของซิมบับเว Zimbabwe
15 พฤษภาคมธงชาติของปารากวัย ปารากวัย
26 พฤษภาคมธงชาติของโปแลนด์ โปแลนด์
27 พฤษภาคมธงชาติของโบลิเวีย โบลิเวีย
วันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม31 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
29 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ธงชาติของแอลจีเรีย Algeria
Flag of the Dominican Republic Dominican Republic
ธงชาติของฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (First Sunday of June if Pentecost occurs on this day)
ธงชาติของฝรั่งเศส French Antilles (First Sunday of June if Pentecost occurs on this day)
ธงชาติของเฮติ Haiti[7] ธงชาติของมอริเชียส Mauritius
ธงชาติของโมร็อกโก Morocco
ธงชาติของสวีเดน สวีเดน
ธงชาติของตูนิเซีย ตูนิเซีย
30 พฤษภาคมธงชาติของนิการากัว นิการากัว
1 มิถุนายนธงชาติของมองโกเลีย Mongolia† (The Mothers and Children's Day.)
Second Sunday of June14 มิถุนายน พ.ศ. 2552
13 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ธงชาติของลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก
Last Sunday of June28 มิถุนายน พ.ศ. 2552
27 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ธงชาติของเคนยา เคนยา
12 สิงหาคมธงชาติของไทย ไทย (วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ)
15 สิงหาคม (Assumption Day)แม่แบบ:Country data Antwerp แอนต์เวิร์ป (เบลเยียม)
ธงชาติของคอสตาริกา คอสตาริกา
19 สิงหาคม (Pâthâre Prabhu in Southern India)ธงชาติของอินเดีย อินเดีย[8]
Second Monday of October12 ตุลาคม พ.ศ. 2552
11 ตุลาคม พ.ศ. 7440
ธงชาติของมาลาวี Malawi
14 ตุลาคมธงชาติของเบลารุส Belarus
Third Sunday of October18 ตุลาคม พ.ศ. 2552
17 ตุลาคม พ.ศ. 2553
ธงชาติของอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (Día de la Madre)
Last Sunday of November29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ธงชาติของรัสเซีย รัสเซีย
8 ธันวาคมธงชาติของปานามา ปานามา
22 ธันวาคมธงชาติของอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ
ทุกวันที่วันที่ประเทศ
20 Jumada al-thani[n 1]14 มิถุนายน พ.ศ. 2552ธงชาติของอิรัก อิรัก [9]
ธงชาติของอิหร่าน อิหร่าน [10]
อาทิตย์ที่สองของเดือนกุมภาพันธ์นอร์เวย์
8 มีนาคมบัลแกเรีย, แอลเบเนีย
อาทิตย์ที่สี่ในฤดูถือบวชเล็นท์ (มาเทอริง ซันเดย์)สหราชอาณาจักร, ไอร์แลนด์
21 มีนาคม (วันแรกของฤดูใบไม้ผลิ)จอร์แดน, ซีเรีย, เลบานอน, อียิปต์
อาทิตย์แรกของเดือนพฤษภาคมโปรตุเกส, ลิทัวเนีย, สเปน, แอฟริกาใต้, ฮังการี
8 พฤษภาคมเกาหลีใต้ (วันผู้ปกครอง)
10 พฤษภาคมกาตาร์, ซาอุดีอาระเบีย, ประเทศส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้, บาห์เรน, ปากีสถาน, มาเลเซีย, เม็กซิโก, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, อินเดีย, โอมาน
อาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคมแคนาดา, สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน), สาธารณรัฐประชาชนจีน, ญี่ปุ่น, เดนมาร์ก, ตุรกี, นิวซีแลนด์, เนเธอร์แลนด์, บราซิล, เบลเยียม, เปรู, ฟินแลนด์, มอลตา, เยอรมนี, ลัตเวีย, สโลวาเกีย, สิงคโปร์, สหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, ออสเตรีย, อิตาลี, เอสโตเนีย, ฮ่องกง
26 พฤษภาคมโปแลนด์
27 พฤษภาคมโบลิเวีย
อาทิตย์ที่สุดท้ายของเดือนพฤษภาคมสาธารณรัฐโดมินิกัน, สวีเดน
อาทิตย์แรกของเดือนมิถุนายนหรือ อาทิตย์ที่สุดท้ายของเดือนพฤษภาคมฝรั่งเศส
12 สิงหาคมไทย (วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ)
15 สิงหาคม (วันอัสสัมชัญ)คอสตาริกา, แอนท์เวิร์ป (เบลเยียม)
อาทิตย์ที่สองหรือสามของเดือนตุลาคมอาร์เจนตินา (Día de la Madre)
28 พฤศจิกายนรัสเซีย
8 ธันวาคมปานามา
22 ธันวาคมอินโดนีเซีย

[แก้] ดูเพิ่ม

ดอกไม้ประจำวันแม่ของประเทศต่างๆ


[แก้] เชิงอรรถ

  1. ^ Since the Islamic Calendar uses the lunar year, which is shorter than the solar year, the day will migrate through the seasons. Every year it will correspond to a different day in the Gregorian Calendar, so it is listed separately.

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ International Women's Day. Investing in Women and Girls, United Nations
  2. ^ ประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับวันแม่
  3. ^ "ดอกมะลิ" สัญลักษณ์แทนใจวันแม่
  4. ^ Xinhua from China Daily (2006-05-16). "It's Mother's Day". SCUEC online. http://news.scuec.edu.cn/english/viewtext1.php?id=556. 
  5. ^ "Principales efemérides. Mes Mayo". Unión de Periodistas de Cuba. http://www.enlace.cu/efemeride/mayo.htm. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-07. 
  6. ^ "Calendario Cívico Escolar". Dirección Regional de Educación de Lima Metropolitana. http://www.drelm.gob.pe/index.php?p=art&menu=49. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-07. 
  7. ^ Sources:
  8. ^ W.E.G. Solomon (1991). Charm Of Indian Art. Asian Educational Services. p. 130. ISBN 8120602250, 9788120602250. http://books.google.com/books?id=y57Z63UNX18C. 
  9. ^ Mehr News Agency. "Birth Anniversary of Hazrat Fatemeh Zahra (SA) Declared Women’s Day in Iraq", Mehr News, 2003-08-19
  10. ^ "Ahmadinejad highlights women's significant role in society". Presidency of The Islamic Republic of Iran News Service. 2008-06-24. http://www.president.ir/en/print.php?ArtID=10405. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-07-19. "(...) the occasion of the Mother's Day marking the birthday anniversary of Hazrat Fatemeh Zahra (SA), the beloved daughter of Prophet Mohammad (Peace Be Upon Him). The day fell on June 23 [2008]."